Category: เกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่น

บริษัทญี่ปุ่นอาจต้องขึ้นค่าแรงขั้นต่ำให้แก่พนักงานทุกคน

อาจมีพลังงานบางอย่างที่กำลังคุกรุ่นได้ที่ภายในตลาดแรงงานของญี่ปุ่น การที่จำนวนประชากรในญี่ปุ่นลดลงและอัตราการเพิ่มขึ้นของกลุ่มผู้สูงอายุอาจเป็นผลทำให้เกิดภาวะเงินฝืด ซึ่งทำให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นอยู่ในภาวะชะลอตัว อย่างไรก็ตาม หลังจากต่อต้านการขึ้นค่าแรงมาเป็นเวลาหลายปี บริษัทในญี่ปุ่นอาจต้องมานั่งทบทวนถึงความจำเป็นในการรักษาพนักงานให้ยังอยู่ต่อ ก่อนที่พวกเขาจะลาออกกันไปเสียหมด ณ ขณะนี้ ธนาคารทางการเงินของญี่ปุ่นได้กล่าวถึงสถานการณ์นี้โดยยกคำพูดของออร์เวลมาเปรียบเปรยเลยว่า “จงรักษากำลังแรงงานไว้” อัตราการว่างงานในญี่ปุ่นอยู่ที่ 2.8% และลดลงอย่างต่อเนื่องขณะที่ญี่ปุ่นต้องเผชิญกับการเจริญเติบโตของโลก ในช่วงเวลานี้ คนรุ่นเบบี้บูมเมอร์ หรือคนที่เกิดในช่วง พ.ศ. 2489-2507 ก็ทยอยกันเกษียณอายุหมด ขณะที่ประเทศก็ยังต่อต้านการอพยพย้ายถิ่นจำนวนมากๆอยู่ การไหลบ่าเข้ามาของประชากรหญิงและผู้สูงอายุจะต้องได้รับการชดเชย และรับเงินเยียวยาบ้าง แต่กลุ่มคนทำงานในญี่ปุ่นกลับร่อยหรอจนแทบจะหมดสิ้น ปัญหาของสถิติจำนวนประชากรในญี่ปุ่นนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่อะไร ถึงแม้จะมีอัตราการว่างงานที่ต่ำก็ตาม แต่อัตราการเพิ่มขึ้นของค่าแรงยังคงซบเซา คงที่อยู่เพียงร้อยละ 0.6 เท่านั้น ปัญหานี้ทำให้ความพยายามของธนาคารกลางญี่ปุ่นที่จะขยายค่าเงินขึ้นเป็นร้อยละ 2 เป็นอันต้องหยุดชะงักลง กระนั้น พาดหัวก็ยังปิดบังเรื่องของการขับเคลื่อนวงการแรงงานอยู่ พวกเขาได้รับอิทธิพลมาจากบริษัทใหญ่ ในขณะที่สหภาพมีแนวโน้มที่จะสร้างความสัมพันธ์อย่างอบอุ่นกับผู้บริหารและยอมรับการเพิ่มขึ้นของค่าเงินเพียงเล็กน้อย แม้ว่าบริษัทจะสามารถทำกำไรได้มหาศาลก็ตาม ในทางกลับกัน พนักงานนอกเวลากลับได้รับค่าแรงเพิ่มขึ้นอีกประมาณร้อยละ 2.5 ถึง 3 ขณะที่ฐานเงินเดือนของพวกเขายังคงต่ำอยู่ นำไปสู่คำถามที่ว่า เมื่อไรกันที่ภาวะขาดแรงงานจึงกลายเป็นเรื่องที่รุนแรงถึงขนาดมีการแย่งชิงกันในหมู่นายจ้าง และยอมเพิ่มเดิมพันความเสี่ยงที่จะสูญเสียพนักงาน? อิซุมิ เดวาเลียร์ หัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจญี่ปุ่นประจำธนาคาร อเมริกา-เมอร์ริล ลินช์ กล่าวว่าเราได้มาถึงจุดๆนั้นแล้ว “เรามักเจอเหตุการณ์ที่เรามีความหวังว่าจะมีอะไรใหม่ๆเกิดขึ้น แต่สุดท้ายไม่เป็นเช่นนั้นมามากมายหลายครั้ง…

Read the full article

10 ธรรมเนียมที่ควรรู้ก่อนไปเที่ยวญี่ปุ่น

1.การเรียกชื่อผู้อื่นด้วยความเคารพ การโค้งคำนับเปรียบได้กับศิลปะชนิดหนึ่งของญี่ปุ่น เด็กๆชาวญี่ปุ่นจะได้รับการปลูกฝังเรื่องการเคารพนี้ตั้งแต่ก่อนที่พวกเขาจะเข้าโรงเรียน แต่สำหรับนักท่องเที่ยวทั่วไปแล้ว แค่โน้มหัวลงเล็กน้อยหรือโค้งคำนับถึงช่วงเอวก็เพียง พอแล้ว ระยะยเวลาในการค้างอยู่ที่ท่าโค้งคำนับนั้นจะขึ้นอยู่กับระดับสัดส่วน ความสูงของผู้ที่คุณกำลังทักทายด้วยเช่นกัน เช่น การทักทายกับเพื่อนฝูง ก็จะโค้งให้กันอย่างรวดเร็ว โน้มตัวลงมาประมาณ 30 องศาก็พอ ส่วนการทักทายกับคนที่ตำแหน่งงานสูงกว่าคุณ หรืออาวุโสกว่า การโค้งคำนับก็อาจจะค้างนานขึ้นมานิดหน่อย พร้อมทั้งโน้มตัวลงมาต่ำลงกว่าที่คุณทักทายเพื่อน ประมาณ 70 องศาด้วย แต่ทั้งหมดนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและตำแหน่งทางสังคมด้วย เพิ่มเติมในส่วนของเรื่องโค้งคำนับ การเรียกชื่อผู้อื่นก็เป็นสิ่งสำคัญด้วย อย่างคุณเรียก “ดร. สมิธ” ว่า “สมิธ” เฉยๆอาจเป็นการไม่สุภาพและสื่อไปในเชิงดูหมิ่น ในฝั่งประเทศญี่ปุ่นก็ถือเป็นการไม่ให้ความเคารพเช่นกัน ถ้าคุณไม่ได้ลงท้ายว่า “ซัง” หรือ “ซามะ” ตามหลังนามสกุลของพวกเขา โดยปกติแล้ว การเรียกเด็กๆสามารถเรียกแค่ชื่อของพวกเขาได้เลย แต่คุณสามารถลงท้ายตามหลังชื่อของเด็กๆว่า “จัง” สำหรับเด็กผู้หญิง และ “คุง” สำหรับเด็กผู้ชายได้เช่นกัน 2.มารยาทบนโต๊ะอาหาร อธิบายาเป็นข้อๆได้ดังนี้ เมื่อคุณอยู่ในงานปาร์ตี้มื้อค่ำงานหนึ่งแล้วมีคนยื่นเครื่องดื่มให้ ให้คุณหยุดคอยสักครู่ก่อน รอให้เครื่องดื่มเสิร์ฟครบหมดทั้งโต๊ะ แล้วจะมีคนกล่าวนำ ยกแก้วขึ้นพร้อมกล่าวคำว่า “คัมปาย” (ดื่ม) แล้วจึงดื่ม แทบทุกร้านอาหารในญี่ปุ่นจะมีการแจกผ้าให้แก่ลูกค้า…

Read the full article